การเปิดร้านอาหารไม่ใช่ว่าแค่เปิดสำเร็จแล้วก็ถือว่าจบ หากยังต้องมีการดูแลการบริหาร บริการ เอกสาร โดยหนึ่งในสิ่งที่ร้านอาหารส่วนใหญ่มักละเลยและคิดว่าเป็นสิ่งไม่สำคัญคือการทำบัญชีอย่างถูกต้องและการนำส่งภาษีเงินได้ธุรกิจแบบผิดๆ วันนี้ทางศูนย์จึงนำบทความดีดีที่อธิบายขั้นตอนการทำบัญชีร้านอาหารอย่างถูกวิธีมาให้ความรู้แก่ทุกท่านโดยดยบทความนี้เขียนขึ้นโดยคุณแหวนเพ็ชร วังคีรี โรลล์ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของสหรัฐอเมริกาและเจ้าของบริษัท Thai USA Accounting ขอพูดคร่าว ๆ ก่อนว่าอเมริกา ใช้มาตราฐานการบัญชีเรียกว่า U. S. Generally Accepted Accounting Principle (US GAAP). กิจการที่ต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดก็กลุ่ม บริษัทมหาชน เพราะต้องแสดงข้อมูลทางการเงิน สารธารณะ ให้กับผู้ถือหุ้น บริษัทใหญ่ ๆ ถึงแม้ไม่ขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ก็ต้องทำตาม เพราะเจ้าหน้าที่ เช่น ธนาคารจะระบุไว้เลยว่าต้องทำตามมาตราฐานการบัญชีรับรองทั่วไป ถ้าเป็นบริษัทเล็ก ๆ แล้วต้องการยื่นขอกู้เงิน ถ้าทางธนาคารระบุว่า งบการเงินต้องมีการตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชีรับอนุญาตก็ต้องทำตามที่หน่วยงานนั้น ๆ ต้องการ ะบบการบัญชีของประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นที่รู้กันว่าแบบ Rule based accounting ขณะที่ทางยุโรปซึ่งใช้กฏ IFRS เรียกว่า Principle based accounting.

ธุรกิจร้านอาหาร หรือร้านกาแฟ เริ่มต้นใช้งานโปรแกรมบัญชี New FlowAccount - YouTube

  • Jeep cherokee แต่ง สวย รวย
  • [Yu Utan ] เหตุผลที่อยากให้ทำการบ้านก่อนเปิดร้านเองแม้จะเล็กๆก็เถอะ มันมีที่มา
  • May ภาษา ไทย
  • การ คำนวณ ภาษี
  • สร้าง คิว อา ร์ โค้ด จาก ลิงค์ เป็น
  • ของ บูชา แม่ย่านาง รถ
  • ไทย อ อย
  • โปรแกรม garden planner

ขายอาหารเหนื่อย ไม่มีเวลาทำบัญชี แก้ปัญหานี้อย่างไร - บทความ - MHA

บัญชีอย่างง่าย จัดการร้านอาหารได้ด้วยตนเอง - หลักสูตร - MHA

วัน เดือน ปี ให้เขียนวันที่มีรายการรับเงินและจ่ายเงิน 2. รายการ ให้ลงรายละเอียดของรายการรับเงิน และ รายการจ่ายเงินที่เกิดขึ้นประจำวัน 3. รายรับ ให้บันทึกจำนวนเงินที่ทางร้านได้รับเข้ามา เช่น การขายสินค้า, การกู้ยืมเงิน เป็นต้น 4. รายจ่าย ให้บันทึกจำนวนเงินที่ทางร้านจ่ายออกไปในแต่ละวัน โดยแบ่งเป็น รายจ่ายซื้อสินค้า และ รายจ่ายอื่นๆ เช่น ค่าขนส่งสินค้า ค่ากล่องพัสดุ เป็นต้น 5. ลงยอดรวมรายเดือน เป็นช่องสำหรับรวมเงินในแต่ละเดือนในตอนสิ้นเดือน โดยรวมเงินที่ได้รับและจ่ายไปในช่องนี้ เมื่อลงรายการครบทุกช่องแล้ว เราจะสามารถสรุปบัญชีรายรับรายจ่ายได้ว่าเดือนนี้ทางร้านได้กำไรหรือขาดทุนกี่บาท เพื่อเป็นการวางแผนค่าใช้จ่ายในเดือนต่อไป และสามารถนำไปแสดงรายได้ในการยื่นเสียภาษีได้อย่างถูกต้องอีกด้วย โดยทางร้านต้องรวมสรุปบัญชีรายรับรายจ่ายแบบด้านบน ทุกเดือนตั้งแต่เดือน มกราคม – ธันวาคม นำไปยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วยแบบ ภ. ง. ด. 90 และรายรับครึ่งปี ตั้งแต่เดือน มกราคม – มิถุนายน นำไปยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วยแบบ ภงด.

[Yu Utan ] เหตุผลที่อยากให้ทำการบ้านก่อนเปิดร้านเองแม้จะเล็กๆก็เถอะ มันมีที่มา

ทําบัญชีร้านอาหาร excel

วิธีทำบัญชีกำไรขาดทุนอย่างง่าย สำหรับธรุกิจอาหาร l สลัดครีเอเตอร์ - YouTube

ดูแล จัดการ บัญชีร้านค้า ง่ายๆ สำหรับใครที่เพิ่งเริ่มต้นมีธุรกิจร้านค้าเป็นของตัวเอง เพิ่งได้เริ่มเป็นพ่อค้าแม่ค้าขายของออนไลน์ หรือจะไปออกบูธตามงานอีเว้นท์ นอกจากตัวสินค้าที่ต้องใส่ใจแล้ว การทำบัญชีร้านค้าก็สำคัญไม่แพ้กัน เพราะเรื่องเงินไม่เข้าใครออกใครนะ การทำบัญชีรายรับรายจ่ายเพื่อคอยตรวจสอบสินค้าและทรัพย์สินของเราจึงถือเป็นเรื่องที่ห้ามละเลย! แต่สำหรับใครที่ยังไม่แน่ใจว่าควรมีข้อมูลอะไรในตารางบัญชีบ้าง Zipevent มีข้อมูลเหล่านั้นมาเป็นแนวทางให้เหล่าพ่อค้าแม่ค้าได้ลองนำไปปรับใช้กัน ตารางสต็อกของ สำหรับตารางเช็กสต็อกสินค้านั้นถือว่าจำเป็นมากๆ เพราะเราคงไม่มีทางจำได้อย่างแม่นยำว่าสินค้าเรามีอะไรและเหลือเท่าไหร่บ้าง การทำตารางเพื่อจดประเภท รุ่น และจำนวนสินค้าของเราเอาไว้ จึงเป็นสิ่งที่ควรทำมากๆ ตารางนี้จะช่วยให้เราตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นของสินค้าได้ เป็นภาพรวมที่เห็นได้ว่ามีสินค้าเหลือกี่ชิ้น เท่าไหร่ ยังไงบ้าง ข้อมูลในตารางมีอะไรบ้าง? 1. วันที่ (แบ่งเป็นรายสัปดาห์/ รายเดือน) 2. ลำดับสินค้า3. ชื่อสินค้า 4. ชื่อรุ่น/สี (สำหรับสินค้าที่มีหลายแบบ เช่น เสื้อ, กระเป๋า, เคสโทรศัพท์)5. จำนวนสินค้าทั้งหมด ตารางรายจ่าย รายจ่ายในที่นี้สามารถรวมไปถึงต้นทุนการผลิตต่างๆ ได้ทั้งหมด ซื้อของมาในราคาเท่าไหร่ สั่งผลิตมากี่บาทต่อชิ้น ไม่ใช่แค่ค่าสั่งผลิตสินค้านะ แต่รวมไปถึงค่าทำ packaging / ค่าขนส่งสินค้า / ค่าลงโฆษณาในโซเชียลมีเดีย (ถ้ามี) 1.

บัญชีร้านค้า รายรับ-รายจ่าย ควรมีอะไรบ้าง? พ่อค้าแม่ค้าควรรู้

ราคา-ยาง-bridgestone-265-60r18
Monday, 28-Nov-22 22:30:15 UTC