Details Written by Thitinun Hits: 42130 Diabetes care 2019 มีอะไรเปลี่ยน Section 2. Classification and Diagnosis of Diabetes การวินิจฉัยทำได้ 4 วิธี เช่นเดิม สิ่งที่เพิ่มเติม คือ อาจพบ ค่าน้ำตาล ไม่ไปด้วยกันกับค่าน้ำตาลสะสม ดังนั้นอาจต้อง อาศัยเกณฑ์ที่ผิดปกติทั้ง FPG และ A1C จากการเจาะเลือดเวลาเดียวกัน Section 3. Prevention or Delay of Type 2 Diabetes เน้นเรื่องอาหาร เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่อ้วน ได้ลดน้ำหนัก อย่างน้อย 7% จากน้ำหนักตัวเดิม แนะนำหยุดบุหรี่เนื่องจาก บุหรี่เพิ่มความเสี่ยงการเป็นเบาหวาน ยา Metformin สามารถป้องกันการเกิด type 2 diabetes พิจารณาให้ในรายที่ BMI ≥35 kg/m 2, อายุ <60 years, หรือหญิงที่มีประวัติเป็นเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ เน้นลดการบริโภคน้ำตาลทั้งน้ำตาลธรรมชาติและน้ำตาลเทียม ลดอาหารที่มีโซเดียม เพื่อลดการเกิดความดันโลหิตสูง Section 6. Glycemic Targets เน้นการดูแนวทางการรักษาและกำหนดเป้าหมายการรักษาด้วยค่าน้ำตาลสะสม A1C Section 9. Pharmacologic Approaches to Glycemic Treatment เน้นความสำคัญทางปัจจัยด้านตัวผู้ป่วย เช่น น้ำหนัก อายุ โรคร่วมที่สำคัญ โรคหัวใจ ASCVD ไตวายเรื้อรัง หรือความเสี่ยงต่อการเกิดน้ำตาลต่ำ เป็นต้น มีการเปลี่ยนแนวทางการใช้ยาฉีด a glucagon-like peptide 1 receptor agonist should be the first choice, นอกเหนือจาก insulin.

Guideline เบาหวาน 2015 cpanel

Clinical Practice Guideline ในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุจาก the Endocrine Society ฉบับล่าสุด 2019 ซึ่งประกอบด้วย The European Society of Endocrinology, the Gerontological Society of America, และ The Obesity Society ีรายงานฉบับเต็ม ดาวน์โหลดได้ที่ Posted by: Anothai, Date: 2019-03-27, Time: 11:54:14, From IP: 172. 29. 14. 47

guideline เบาหวาน 2019 2020

Guideline เบาหวาน 2012 relatif

ต่อวันเพื่อป้องกันโรคหัวใจหลอดเลือดทำกันมานานหลายสิบปี ยานี้ลดความเสี่ยงการเกิดลิ่มเลือดแต่ก็เพิ่มความเสี่ยงของการเกิดเลือดออกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในทางเดินอาหาร งานวิจัยปัจจุบันพบว่า ไม่ควร ใช้แอสไพรินป้องกันโรคหัวใจหลอดเลือดในคนที่ยังไม่เคยเป็นโรคชัดเจนแล้ว (primary prevention) เพราะไม่มีประโยชน์ ยกเว้นผู้มีความเสี่ยงพิเศษที่ไม่มีปัญหาเลือดออกจากยา ซึ่งต้องเลือกใช้เป็นการเฉพาะราย การใช้แอสไพรินมีประโยชน์เฉพาะในการลดการตายในคนที่เป็นโรคหัวใจหลอดเลือดถึงระดับเคยเข้าโรงพยาบาลมาแล้ว (secondary prevention) ซึ่งในกรณีนี้ยานี้ลดการเกิดจุดจบที่เลวร้ายซ้ำซากในโรคนี้ลงได้ นพ. สันต์ ใจยอดศิลป์ บรรณานุกรม 1. 2019 ACC/AHA Guideline on the Primary Prevention of Cardiovascular Disease: A Report of the American College of Cardiology/American Heart Association Task Force on Clinical Practice Guidelines. J Am Coll Cardiol 2019;March 17:[Epub ahead of print].

Printable

ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 110 ถนนอินทวโรรส ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200

ติดต่อ ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูแห่งประเทศไทย ชั้น 11 อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ปี ซ. ศูนย์วิจัย ถ. เพชรบุรีตัดใหม่ กรุงเทพฯ 10310 11th Floor, Royal Golden Jubilee Building, 2 Soi Soonvijai, New Petchburi road, Bangkok 10310, Thailand

Schedule

9 หรือมีปัจจัยเสี่ยงหลักหลายตัว (3) ผู้ป่วยอายุมากกว่า 75 ปี ไม่ควรรีบให้ยา statin ตะพึด แต่ควรประเมินภาพรวมทางคลินิกแล้วหารือกับผู้ป่วยถึงความเสี่ยงก่อน (4) ผู้ป่วยอายุ 40-75 ที่ไขมันเลว LDL อยู่ระหว่าง 70 – 190 มก. ให้ตัดสินใจว่าจะใช้หรือไม่ใช้ยา statin เอาจากผลการประเมินความเสี่ยง กล่าวคือหากเป็นกลุ่มความเสี่ยงต่ำที่ไม่มีความเสี่ยงเสริมใดๆก็ไม่ใช้ยา หากเป็นกลุ่มความเสี่ยงปานกลางก็ใช้ยาแบบโหมยาปานกลาง ถ้าเป็นกลุ่มความเสี่ยงสูงก็ใช้ยาแบบโหมยามาก ทั้งนี้หากไม่สามารถจัดชั้นความเสี่ยงได้ชัดอาจตรวจดูแคลเซียมในหลอดเลือด (CAC) หากได้คะแนน CAC = 0 ไม่ควรใช้ยา แล้วติดตามตรวจ CAC ทุก 5-10 ปี ในการใช้ยา ควรประเมินการสนองตอบใน 6-8 สัปดาห์ ความดันเลือดสูง โรคความดันเลือดสูงขั้นที่ 1 นิยามว่าคือภาวะที่ความดันตัวใดตัวหนึ่ง (บน/ล่าง) สูงกว่า 130/80 มม. ซึ่งในอเมริกามีความเป็นโรคนี้ 46% ความเสี่ยงของโรคหัวใจหลอดเลือดเพิ่มขึ้นตามความดันเลือดในช่วงความดัน 115/75 ไปจนถึง 180/105 มม. หรือเมื่อความดันเพิ่มมากกว่า 20/10 มม. อัตราตายจากโรคหัวใจหลอดเลือดจะเพิ่มเท่าตัว ดังนั้นเมื่อความดันเริ่มคาบเส้น (เกิน 120/80 แต่ไม่เกิน 130/80) จะต้องเริ่มแนะนำให้ (1) ลดน้ำหนัก (2) เปลี่ยนอาหารมากินอาหารที่ทำให้สุขภาพดีเช่นอาหารลดความดัน (DASH) หรืออาหารเมดิเตอเรเนียนหรืออาหารมังสะวิรัติ ซึ่งมีพืชผักผลไม้อันเป็นแหล่งของโปตัสเซียมสูง (3) จำกัดเกลือในอาหารไม่ให้เกินวันละ 1.

5-7% ยารักษาเบาหวานกลุ่มอื่นหลายกลุ่มลดน้ำตาลในเลือดได้จริงแต่ไม่ลดอัตราตายจากโรคหัวใจขาดเลือด รวมทั้งยาในกลุ่ม sufonylurea.

Philippines

มาก่อน (primary prevention) เพราะจากหลักฐานวิจัยนับรวมถึงวันนี้ประโยชน์ที่ได้ไม่คุ้มความเสี่ยงเสียแล้ว (6) การเบรคแพทย์ไม่ให้ใช้ยาลดไขมัน (statin) ในคนไข้อายุเกิน 75 ปีแบบตะพึด ซึ่งเป็นการปรับตามข้อมูลที่บ่งชี้ว่าในคนอายุเกิน 75 ปี การมีไขมันในเลือดต่ำมีความสัมพันธ์กับอัตราตายรวมที่สูงขึ้น …เป็นต้น ดังนั้น เ ผื่อแฟนบล็อกที่ไม่ใช่แพทย์จะสนใจรายละเอียด ผมได้แปลสรุปย่อ Guideline ฉบับนี้ให้ ดังนี้ …………………………………………….. การประเมินความเสี่ยงโรคหัวใจหลอดเลือด สิ่งที่เรียกว่าปัจจัยเสี่ยงของโรคหัวใจหลอดเลือดที่พบบ่อย นับรวม (1) ความดันเลือดสูง (2) ไขมันในเลือดสูง กล่าวคือไขมันเลว LDL สูงกว่า 160 มก. /ดล. หรือโคเลสเตอรอลส่วนที่หักไขมันดีออกแล้วสูงกว่า 190 มก. /ดล. (3) สูบบุหรี่ (4) เป็นเบาหวาน (5) บรรพบุรุษตายด้วยโรคหัวใจหลอดเลือดตั้งแต่อายุน้อย (ชายน้อยกว่า 55 ปี หญิงน้อยกว่า 65 ปี) (6) เป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรัง เช่นข้ออักเสบรูมาตอยด์ หรือมีตัวชี้วัดการอักเสบ (CRP) สูงกว่า 2 มก. /ล. (7) โรคไตเรื้อรังระยะที่สามขึ้นไป (GFR น้อยกว่า 60) (8) ประจำเดือนหมดเร็วกว่าอายุ 40 ปี (9) มีดัชนี้เลือดไหลผ่านข้อเท้าและขา (ABI) ต่ำกว่า 0.

ส่วน เบาหวานในหญิงตั้งครรภ์ แนะนำให้ใช้อินซูลินในการควบคุมระดับน้ำตาลให้ได้ตามเป้าหมาย เนื่องจากยาอินซูลินไม่ผ่านรก ส่วน metformin and glyburide ไม่แนะนำให้ใช้เป็นอันดับแรกแล้วเพราะยาผ่านรกได้
  • Guideline เบาหวาน 2010 qui me suit
  • อ่างผสมปูน – ราคาขายส่ง.com
  • Guideline เบาหวาน 2019 online
  • Guideline เบาหวาน 2019 full
  • Guideline เบาหวาน 2012.html
  • Guideline เบาหวาน 2015 cpanel
  • ENGLISH IN DIARY (2013): ชื่อจังหวัดในประเทศไทยภาษาอังกฤษ
  • Guideline เบาหวาน 2013 relatif
หอง-พก-แถว-แฟชน
Monday, 28-Nov-22 20:54:03 UTC