การนำโลโก้ไปใช้ในสื่อต่างๆ 2. แบบตัวอักษร หรือฟอนต์ที่ใช้ และวิธีการนำไปใช้ 3. ชุดสีที่สามารถใช้ได้ และวิธีการใช้งาน 4. ตัวอย่างการใช้ภาพประกอบ ทั้งภาพถ่าย หรือภาพวาด และสไตล์ต่างๆ หากขาด CI Guideline ตัวนี้ไปแล้ว ไม่ว่าเราจะซุ่มออกแบบโลโก้ให้ออกมาสวยงามเพียงใด หากคนในทีมหรือแม้แต่คนอื่นๆ ไม่สามารถนำเอา Branding ที่เราออกแบบนี้ไปใช้ได้ (อย่างถูกต้องและง่ายดาย) ภาพที่ออกมาก็ยากที่จะเป็นไปตามแบบที่เราคิดไว้ สรุป จากคำถามที่เราได้รับบ่อยๆ ว่าทำไมต้องรีแบรนด์ เหตุผลหลักของพวกเรามีสองเหตุผลคือ 1. ดีไซน์แบบเก่ายังไม่เคยได้รับการพัฒนา Design System มาก่อน ทำให้เมื่อเวลาต้องนำไปใช้งานจริง ผลงานจึงไม่มีมาตรฐานที่ดี และต่อยอดไม่ได้มากกับฟอร์แมตที่หลากหลายทั้งเว็บ บทความ วิดีโอ หรือกระทั่งงานออฟไลน์ 2.

การรีแบรนด์ดิ้ง

สื่อสารได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพราะทุกคนนั่งทำงานอยู่ด้วยกัน เวลามีคอมเมนต์งานก็สามารถพูดคุยกันได้เลย หรือแม้แต่หากทีมงานคนใดคนหนึ่งติดปัญหา ก็สามารถเดินไปมาหากันเพื่อพูดคุยกันได้ทันที 2. สามารถปรับเปลี่ยนได้ แม้ว่าเราจะมี scope ที่วางเอาไว้ แต่ในการทำงานจริง มันจะมีสิ่งที่เราคิดว่ามันปรับเปลี่ยนได้ ปรับเปลี่ยนแล้วมันดีขึ้น ซึ่งหากเราจ้าง outsource มันจะทำให้เราทำอย่างนี้ได้ยากกว่า 3. สามารถพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง เรามองว่า Content Shifu ไม่ได้เป็นโปรเจกต์ที่ทำแล้วจบ แต่วางแผนว่าจะให้เป็นแพลตฟอร์มที่พัฒนาอยู่ตลอดเวลา การมีทีมที่รับผิดชอบโดยตรงทำให้เราสามารถพัฒนาได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น 3. ยอมเสียเวลา เพื่อให้มีพื้นฐานที่แน่น เมื่อภาพใหม่ของ Content Shifu จะไม่ได้เป็นแค่บล็อกหรือเว็บไซต์ที่ให้ความรู้เพียงอย่างเดียวอีกต่อไป Branding ใหม่ จึงควรจะต้องสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับงานต่างๆ ได้โดยง่าย ทั้งบนโลกออนไลน์และออฟไลน์ ไม่ว่าจะเป็นเว็บไซต์ เอง, บน Social Media ต่างๆ รวมไปถึงการจัดคอร์ส/เวิร์กช็อป หรือแม้แต่การจัดอีเวนต์แบบออฟไลน์ต่างๆ ฉะนั้นการทำรีแบรนด์ครั้งนี้ เราจึงให้ความสำคัญกับการสร้าง CI Guideline ซึ่งเป็นสิ่งที่เราคิดว่าจะมีประโยชน์เป็นอย่างมากในการที่จะดึงเอา Branding ใหม่นี้ไปใช้ โดยพื้นฐานแล้วสิ่งที่เราควรจะกำหนดให้มีใน CI Guideline ก็คือ 1.

ก็เพราะรัก…ฉันจึงออกแบบ

‘การรีแบรนด์’ ไม่ใช่แค่เปลี่ยนโลโก้ แต่เป็นการโชว์ถึงภาพลักษณ์ของแบรนด์ – Kosin Studio

  1. การรีแบรนด์ คือ
  2. อ้วก เป็น น้ำย่อย
  3. การรีแบรนด์

การควบรวมหรือซื้อกิจการ เราจะเห็นการ Rebranding จากสถานการณ์นี้ค่อนข้างบ่อยในระยะหลังๆครับ ซึ่งเกิดจากการที่บริษัทอาจมีการเปลี่ยนเจ้าของหรือผู้ถือหุ้นใหม่ๆเลย ซึ่งมันส่งผลต่อความจำเป็นในการ Rebranding แบบทันทีทันใดที่ไม่ใช่แค่เพียงเรื่องของภาพลักษณ์ภายนอก แต่มันรวมถึงรายละเอียดในเชิงกฎหมายและเรื่องภายในองค์กรด้วย อีกหนึ่งกรณีก็อาจเกิดจากการที่บริษัทนั้นแยกตัวออกจากบริษัทเดิมเพื่อมาสร้างแบรนด์และผลิตสินค้าใหม่ๆเป็นของตัวเองก็ได้เช่นกัน 2. วางตำแหน่งของแบรนด์ใหม่ การเปลี่ยนตำแหน่งแบรนด์พร้อมคำมั่นสัญญาใหม่ๆซึ่งการ Rebranding ด้วยเหตุผลนี้ถือว่าต้องมีการปรับเปลี่ยนอย่างมหาศาลในตัวองค์กรเอง ไม่ว่าจะเป็นการวางกลยุทธ์ใหม่ การปรับเปลี่ยนสินค้าหรือบริการใหม่ นโยบายการทำงานใหม่ รวมถึงอัตลักษณ์ขององค์กร (Corporate Identity) และอื่นๆอีกมากมาย ซึ่งไม่ใช่แค่ระดับการสื่อสารกับพนักงานและลูกค้าเท่านั้นแต่ยังรวมถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดอีกด้วย 3. ลุยตลาดต่างประเทศ เมื่อธุรกิจกำลังวางแผนลุยตลาดต่างประเทศก็จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนแบรนด์ให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศนั้นๆ ซึ่งมันอาจส่งผลต่อการตั้งชื่อแบรนด์รวมถึงแนวทางในการสื่อสารและการทำการตลาดของแบรนด์ด้วยเช่นกัน ซึ่งหลายๆกรณีจะเกิดกับข้อกำหนดและข้อจำกัดด้านกฎหมายด้วยครับ โดยเราจะเห็นหลายๆแบรนด์ที่เป็นแบรนด์ระดับโลกแต่มีการเปลี่ยนชื่อในบางประเทศ เช่น Jif เป็น Cif, Smiths เป็น Lay's, Raider เป็น Twix เป็นต้น 4.

นายก-ลา-ออก
Monday, 28-Nov-22 21:54:48 UTC