ตอบไป: 4 ปี ค่ะ ถามมา: สามารถทำงานเอกชนได้หรือไม่? ตอบไป: ได้ค่ะ อาทิเช่น นักวิเคราะห์โครงการ นักวิเคราะห์การลงทุน นักวิเคราะห์ระบบงาน นักบริหารองค์การระดับสูงที่สามารถวิเคราะห์การบริหารเศรษฐกิจมหภาคได้ เป็นต้น ซึ่งข้อได้เปรียบของสาขาวิชานี้คือได้เรียนรู้ทั้งความรู้และเครื่องมือทางการบริหารงานมากกว่าสาขาอื่นๆ ของวิชารัฐศาสตร์ จึงทำให้สามารถนำความรู้เทคนิคด้านการบริหารจัดการไปใช้ในการทำงานภาคเอกชนได้ดีในการบริหารงานทุกระดับของบริษัท และถ้ามีความรู้การคำนวณ และภาษาที่ดี ขอบข่ายงานก็ยิ่งจะกว้างขวางมากขึ้น ไม่ต้องกลัวเลยค่ว่าจะตกงาน ^_^ ถามมา: เรียนจบสาขารัฐประศาสนศาสตร์ จะได้เป็นวุฒิอะไร สอบราชการได้หรือไม่? ตอบไป: ได้วุฒิเป็น รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต หรือบางที่จะได้เป็น ศิลปศาสตร์บัณฑิต(รัฐประศาสนศาสตร์) ซึ่งแน่นอนว่าสามารถ สอบเข้าราชการได้ค่ะ การสอบราชการไม่ได้จำกัดวุฒิในการสอบนะคะ ส่วนงานที่สามารถสอบได้ เช่น ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป, เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน, เจ้าหน้าที่ประสานงาน, ตำรวจในรัฐสภา เป็นต้น ถามมา: จะสามารถเรียนต่อทางด้านสาขาใดได้บ้าง? ตอบไป: ถ้าจบ รัฐประศาสนศาสตร์ หรือ บริหารรัฐกิจ สามารถเรียนต่อได้หลายสายเลยค่ะ เป็นทางด้านสายศิลป์นะคะ เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์(ต่อ) ศิลปศาสตร์ บริหารธุรกิจ เป็นต้น ถ้าเรียนทางด้านสายวิทย์จะไม่มีพื้นฐานเลยค่ะ อารมณ์เรียน ม.

รัฐประศาสนศาสตร์ จบมาทำงานอะไร? - AdmissionPremium.com

  1. รัฐประศาสนศาสตร์ จบมาได้วุฒิอะไรหรอค่ะ จบมาทำงานอะไรได้บ้าง ? - Pantip
  2. [รีวิว คณะรัฐประศาสนศาสตร์] อยากเรียนสายปกครอง บริหารท้องถิ่น ดูเลย ! - YouTube
  3. แมวจะคลอดดูยังไง

แนวทางประกอบอาชีพ - สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

นักปกครอง (ปลัดอำเภอ ปลัด อบต. อบจ. เทศบาล สำนักงานเขต/อำเภอ) 2. เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปในกระทรวง กรม หน่วยงาน สำนักงาน และกองต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชนและรัฐวิสาหกิจ เป็นต้น 3. รับราชการทหาร และตำรวจ 4. เจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชน 5. อาจารย์ นักวิชาการ ทางด้านการปกครอง 6. ประกอบธุรกิจส่วนตัว มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ มอบทุนการศึกษา 10, 000 บาท ตั้งแต่วันนี้ - 31 ธันวาคม 2561 (เงื่อนไขเป็นไปตามมหาวิทยาลัยกำหนด) สนใจสมัครรับทุน คลิกที่นี่ คนอื่น ๆ อ่านเรื่องนี้ แล้วมักจะอ่านเรื่องต่อไปนี้ต่อ

รัฐประศาสนศาสตร์ : จบแล้วทำงานอะไร | Dek-D.com

ตัวแปรต้นหรือ ตัวแปรอิสระ ( Independent Variable) คือตัวแปรที่เกิดขึ้นก่อนหรือเป็นตัวแปรที่เป็นเหตุ ทำให้เกิดผลตามมา 2. ตัวแปรตาม ( Dependent Variable) คือตัวแปรที่เกิดขึ้นเนื่องจากตัวแปรต้น หรือเป็นตัวแปรผล อันเกิดจากเหตุ ตัวอย่างของตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม เช่น การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของผู้นำท้องถิ่น ตัวแปรอิสระ ประกอบด้วย 1) เพศ มี 1 เพศ คือ เพศชาย เพศหญิง 2) ตำแหน่ง มี 3 ตำแหน่ง คือ นายก อบต. ประธานสภา อบต. ส. อบต. ตัวแปรตาม ประกอบด้วย 1) พฤติกรรมด้านการเสียสละ 2) พฤติกรรมด้านการมีวินัย 3) พฤติกรรมด้านความขยันหมั่นเพียร 4) พฤติกรรมด้านความซื่อสัตย์ 5) พฤติกรรมด้านความมีน้ำใจนักกีฬา 6) พฤติกรรมด้านการให้ความร่วมมือ 7) พฤติกรรมด้านการรู้จักช่วยตนเอง ตัวอย่างการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบการมีวินัยแห่งตนและผลสัมฤทธิ์ทางการอบรมผู้นำ ของ ส. อบต. ตำบลสะเดียง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ระหว่างวิธีการอบรมแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์กับการอบรมแบบบรรยาย ตัวแปรต้น คือ วิธีการอบรม ซึ่งมี 1 วิธี คือ 1) วิธีอบรมแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ 2) วิธีอบรมแบบบรรยาย ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการอบรมผู้นำ ความมีวินัยแห่งตน 3.

กระทู้คำถาม ใครพอจะมีไฟล์สรุปพวกกฎหมายเบื้องต้นบ้างมั้ยคะ อยากให้รีวิวหลักสูตรด้วยค่ะว่าเรียนยากมั้ยㅠㅠ 0 แสดงความคิดเห็น คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

00 บัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ทำงานอะไรได้บ้าง ปลัดอำเภอ ปลัด อบต. ตำรวจ ทหาร นักวิเคราะห์นโยบายและแผน พนักงานส่วนท้องถิ่น พนักงานองค์การภาครัฐและภาคเอกชน ธุรกิจส่วนตัว

  1. อาหาร ทะเล สด ชะอำ
  2. เฉ ฉ วน
  3. ลงทะเบียน ม.33 ประกันสังคม ลดเงินสมทบ
  4. กรมธรรม์ พรบ
  5. กัน เเ ด ด หน้า
  6. Canopy บาง บอน
  7. Jaspal ลด ราคา 2563
  8. กล่อง สร้อย คอ ภาษาอังกฤษ
  9. ดอยคํา น้ําผึ้งมะนาว
  10. วิธี ปราบ แมลงวัน
  11. Green aventurine ราคา
ภมปญญา-ไทย-สมย-อยธยา-และ-ธนบร
Monday, 28-Nov-22 22:34:12 UTC